Home บทความแนะนำ การมัดใจพนักงานให้อยู่ด้วยกัน เมื่อมีพนักงานจะลาออก

การมัดใจพนักงานให้อยู่ด้วยกัน เมื่อมีพนักงานจะลาออก

by talkthurakit
พนักงาน

การมัดใจพนักงานให้อยู่ด้วยกัน เมื่อมีพนักงานจะลาออก

เมื่อถึงเวลาการปรับเงินเดือน เลื่อนระดับ จ่ายโบนัส วิธีนี้เป็นการมัดใจพนักงานให้อยู่ด้วยกันนาน ๆ เมื่อมีพนักงานจะลาออกแต่องค์กรยังมีความประสงค์ต้องการให้พนักงานอยู่ต่อไป จะมีการพูดหรือการกระทำอะไรที่จะมัดให้เขา เพื่อเปลี่ยนใจว่าจะไม่ออกนั้น สามารถอ่านคำแนะนำจาก ทอล์คธุรกิจ ได้เลยค่ะ

เคล็ดลับการรักษาเมื่อมีพนักงานจะลาออก มีดังนี้

พนักงาน

การทำ Stay Interview การมัดใจพนักงานให้อยู่ด้วยกัน เป็นการพูดคุยแบบเดี่ยว ๆ เพื่อที่จะหาว่าปัจจัยอะไรที่จะส่งผลให้พนักงานคนหนึ่งลาออก

ต้องให้ความสำคัญกับความพึงพอใจของพนักงาน

พนักงาน

เมื่อได้รับรู้ถึงเหตุผลที่ลูกจ้างกล้าที่จะพูดปัญหาและความกังวลออกมาอย่างเปิดใจ สิ่งที่องค์กรควรทำให้พวกเขาเห็นคือการลงมือทำ แก้ไขปัญหาและคอยติดตามผล ดังนั้นจึงต้องเกิดการลงมือทำและอย่างที่เราพอรู้กันว่านอกจากผู้ที่ทำประจำแล้ว คนที่ทำงานมีทั้งการทำงานแบบกะหรือพาร์ทไทม์จะมีโอกาสลาออกได้เช่นกัน การมัดใจพนักงานให้อยู่ด้วยกันต่อจึงไม่ติดอยู่กับแค่คนที่ทำงานอยู่เป็นประจำเท่านั้น แต่สามารถใช้กับคนที่ทำงานรูปแบบระยะสั้นเหล่านี้ได้ด้วย เพราะอาจจะไม่ได้มีการปฏิสัมพันธ์กับหัวหน้าของตัวเองมากเท่าไร ทำให้บางองค์กรที่ใช้รูปแบบ การนำแพลตฟอร์มเข้ามาใช้ที่ให้โอกาสให้การให้คะแนนการทำงาน ทำให้เมื่อแบบกะมีความพึงพอใจต่อการทำงาน

ถามเหตุผลและตั้งใจฟังพวกเขาให้ดี

พนักงาน

Soul Seed เอเจนซีการตลาดแห่งหนึ่งในสหรัฐฯ ที่ได้พบกับปัญหาการลาออกของพนักงานถึง 8 คน เป็นเพราะว่าตอนนั้นเธอต้องใช้เวลาในการโฟกัสกับเรื่องของการทำอย่างไรให้ธุรกิจสามารถไปต่อได้ ทำให้เธอไม่ได้ให้ความสนใจกับพนักงาน จนก่อให้เกิดปัญหาเรื่องของการลาออกตามมา ดังนั้นเธอจึงได้ทำการมัดใจพนักงานให้อยู่ด้วยกัน ที่สำคัญสิ่งที่เธอทำคือ ทุก ๆ ไตรมาส ใช้ชุดคำถามที่มีความตรงไปตรงมามากขึ้นอย่าง “ถ้าคุณจะลาออกใน 6 เดือนข้างหน้า ปัจจัยอะไรที่จะทำให้คุณตัดสินใจลาออ?” การทำเช่นนี้ก็จะสามารถรับรู้ รับฟังกับสิ่งที่เป็นปัญหา

พูดให้พนักงานจะต้องรู้สึกสบายใจพอที่จะให้ความเห็นที่ตรงไปตรงมา

พนักงาน

การมัดใจพนักงานให้อยู่ด้วยกัน เป็นวิธีที่ได้ผลและและได้ประสิทธิภาพ พนักงานจะต้องรู้สึกสบายใจพอที่จะให้ความเห็นที่ตรงไปตรงมา บางองค์กรจึงมีนโยบายหนึ่งที่มีชื่อว่า นโยบายเปิดประตูซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้ที่ทำงานไม่ว่าจะเวลาไหน เมื่อไหร่ ก็สามารถที่จะมาพูดคุยกับหัวหน้าถึงข้อกังวล ถึงความรู้สึก ถึงปัญหา โดยไม่จำเป็นที่จะเป็นการพูดคุยแบบเป็นทางการก็สามารถที่จะพูดได้ ขอขอบคุณบทความดีๆจาก ล็อตโต้สด

Leave a Comment